Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Clarias macrocephalus
Clarias macrocephalus
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Status:
ACCEPTED
ชื่อสามัญ::
-
Big haeaded walking catfish
-
Bighead catfish
-
Gunther's Walking Catfish
-
Broadhead Catfish
-
Bighead catfish, Broadhead catfish, Gunther's walking catfish
ชื่อไทย:
-
ปลาดุกบิ๊กอุย
-
ดุกอุย
-
ปลาดุกอุย
-
ดุกอุย, ดุกเนื้ออ่อน
ชื่อท้องถิ่น::
-
อีแกก้อลีลือโมะฮ์
ปีที่ตีพิมพ์:
2563
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
30 มิ.ย. 2566
วันที่อัพเดท :
18 ธ.ค. 2566 10:08 น.
วันที่สร้าง:
18 ธ.ค. 2566 10:08 น.
ข้อมูลทั่วไป
ระบบนิเวศ :
-
ระบบนิเวศเกษตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
เชียงใหม่
-
พะเยา, ระนอง, แพร่
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่เกษตรกรรม ดอยอินทนนท์และอำเภอจอมทอง
-
ป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว พะเยา, ป่าละอุ่น และป่าราชกรูด ระนอง, ป่าแม่คำมี แพร่
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
เป็นปลาพื้นบ้านของไทยชนิดไม่มีเกล็ด รูปร่างเรียวยาว มีหนวด 4 เส้นที่ริมฝีปาก สีของผิวหนังค่อนข้างเหลือง มีจุดประตามตัวและบริเวณด้านข้างของลำตัวอย่างเด่นชัด เนื้อสีออกเหลือง มีมันมาก ลำตัวค่อนข้างทู่ส่วนปลายของกระดูกท้ายทอยจะป้านและสั้น มีครีบหลังสูงกว่าปลาทั่วไปมาก สามารถเคลื่อนที่บนบกได้เป็นระยะทางสั้นๆ โดยใช้ครีบช่วย **ถิ่นที่อยู่อาศัย: สำหรับประเทศไทยพบปลาดุกในคลอง หนอง บึง ต่างๆ ทั่วทุกภาค เป็นปลาที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำจืดทั่วไป แม้ในหนองน้ำที่มีน้ำเพียงเล็กน้อยก็ยังพบปลาดุก ในน้ำที่มีออกซิเจนเพียงเล็กน้อยและถึงแม้ว่าน้ำที่ค่อนข้างกร่อยปลาดุกก็ยังสามารถอาศัยอยู่ได้เป็นอย่างดี **ลักษณะการกินอาหาร: ปลาดุกกินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์ มีนิสัยชอบหาอาหารกินในเวลากลางวันตามบริเวณพื้นก้นบ่อ และจะขึ้นมากินอาหารบริเวณพื้นผิวน้ำเป็นบางขณะ มีนิสัยชอบกินอาหาจำพวกเศษเนื้อที่กำลังสลายตัว ปลาดุกมีนิสัยชอบกินอาหารจำพวกเนื้อสัตว์มากกว่าอาหารจำพวกพืช **การแพร่กระจาย: พบว่ามีการแพร่กระจายทั่วไปเกือบทุกภาคของประเทศไทยและในประเทศใกล้เคียง เช่น มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ พม่า ลาว กัมพูชาอินเดียและบังกลาเทศ
ถิ่นอาศัย :
-
พบว่ามีการแพร่กระจายทั่วไปเกือบทุกภาคของประเทศไทยและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์
-
อาหาร
ข้อมูลภูมิปัญญา
-
ภูมิปัญญาการทำปลาดุกร้า :: การทำปลาดุกร้าเป็นภูมิปัญญาของชาวภาคใต้ เป็นวิธีการถนอมอาหารอย่างหนึ่งในพื้นที่ลุ่มทะเลสาบสงขลาที่มีแหล่งน้ำธรรมชาติที่สะอาดและอุดมสมบูรณ์อีกแหล่งหนึ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งตำบลทะเลน้อย ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ซึ่งตั้งอยู่ริมทะเลน้ำจืด คือทะเลน้อย เป็นแหล่งปลาชุกชุมขนาดใหญ่อีกแหล่งหนึ่งในธรรมชาติ และอีกแหล่งหนึ่งที่เป็นแหล่งน้ำที่มีสัตว์น้ำอาศัยอยู่อีกแห่งหนึ่งคือ ลุ่มน้ำปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราชและเขตอำเภอเมืองจังหวัดนครศรีธรรมราช โดยในพื้นที่นี้มีปลาน้ำจืดธรรมชาติอยู่มากมาย โดยเฉพาะปลาดุก ที่นิยมจับมารับประทาน และถ้าเหลือก็จะนำมาถนอมอาหารเป็นปลาดุกร้าลักษณะเฉพาะที่แสดงภูมิปัญญ
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (IUCN, )
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (IUCN, )
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (IUCN, )
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (IUCN, 2011)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (IUCN, 2011)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (ONEP, 2560)
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
สถานที่
NSM
Ubon Ratchathani
NSM
Nakhon Ratchasima
NSM
Chiang Rai
NSM
Bangkok
นครสวรรค์
alcohol
ประจวบคีรีขันธ์
alcohol
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
สถานที่
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA638030
638030
2
PRJNA637778
637778
3
PRJNA624528
624528
4
PRJNA604477
604477
5
PRJNA433788
433788
6
PRJNA311624
311624
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
OEPP Biodiversity Series Vol. 12 Peat Swamp Fishes of Thailand, 2545
OEPP Biodiversity Series Vol. 4 Checklist of FISHES IN THAILAND, 2540
ONEP Biodiversity Series Vol. 16 : Thailand Red Data : Fishes
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
กรมประมง
กรมป่าไม้
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 7 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศเกษตร, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
IUCN Red List
IUCN Red List
สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน)
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
กรมประมง
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Onthophagus sunanthaae
Mactrinula angulifera
งูเขียวหางไหม้ตาโต
Cryptelytrops
Prosotas gracillis
ผักกระสัง
Peperomia
นกกระสานวล
Ardea
Previous
Next